1.5 การตั้งค่า Blogger


การตั้งค่าBlogger  ให้เปิดหน้า Blog
เลือก "เมนูการตั้งค่า"


การปรับค่าการใช้งานในรูปแบบต่างๆ ของ Blogger สามารถแก้ไขในเมนู "การตั้งค่า " ไม่ว่าจะเป็นชื่อบล๊อก, Url ของบล๊อก, ภาษาของบล๊อก, การจัดการคลังบทความ ซึ่งมีการใช้งานในส่วนต่างๆ ไม่ได้ยากเย็นนัก เรามาดู การตั้งค่า (Settings) ของ Blogger ว่ามีอะไรบ้าง
1.  ขั้นต้น (Basic Setting)
เป็นการตั้งค่าในส่วนของพื้นฐานเช่น หัวข้อ
(title) คำอธิบาย (Description) และอื่นๆ ของ Blogger
2.  เรื่องการเผยแพร่ (Publishing Setting)
การแก้ไข Url หรือชื่อของบล๊อก เช่น
www.ชื่อบล๊อก.blogspot.com
3.  เรื่องการจัดรูปแบบ (Formatting Setting)
แก้ไขรูปแบบของบทความ เช่น เวลา ภาษา รูปแบบวันที่
4.  เรื่องข้อคิดเห็น(Comments Setting)
การตั้งค่าจัดการความคิดเห็น (
Comment) ของ Blogger
5.  เรื่องเก็บเข้าคลังบทความ (Archiving Setting)
การจัดการคลังบทความและการแสดงผลของบทความในหน้าบล๊อก
6.  เรื่องฟีดของไซต์ (Site Feed Setting)
ตั้งค่าการส่งเนื้อหาแบบ
RSS Feed
7.  เรื่องอีเมลและมือถือ (Email Mobile Setting)
การส่งบทความผ่าน
E-mail และะมือถือ
8.  เรื่องOpenID (Open ID Setting)
ชื่อบล๊อกของคุณและ
ID การใช้งาน
9.  เรื่องสิทธิ์ (Permissions Setting)สิทธิของผู้ใช้งาน ในส่วนผู้เขียนและผู้อ่าน
     10.  E-mail ที่เราใช้สมัครเป็น Username ของเรา
11.  หน้าแผงควบคุม (Dashboard) คือหน้าที่เรากำลังทำงานอยู่ขณะนี้
12. หน้า Account  หรือหน้ารวมเครื่องมือต่างๆ ที่เราสมัครกับ Google เช่น E-mail, Blog, สามารถเปลี่ยนรหัสได้ในหน้านี้
13.  ช่วยเหลือ เป็นการช่วยเหลือในส่วนต่างๆ ของ Blogger ที่ Google ทำไว้ให้เรา
14.   ออกจากระบบเป็นการ Logout ออกจากระบบการใช้งานเมื่อใช้งานสร็จ
15.  เปลี่ยนภาษาของบล๊อกเราทั้งระบบ
16.   ประวัติของเราสามารถปรับรูปภาพเกี่ยวกับเจ้าของ หรือโปรไฟล์ต่างๆ
17.  สร้างบล๊อกใหม่  และช่วยเหลือตามข้อ 4
18.  ชื่อของบล๊อก หรือ Title ของบล๊อกเรา ที่เราตั้งค่าไว้ตอนสมัคร
19.   ดูบล๊อกของเรา
20.  สร้างบทความใหม่ /แก้ไขบทความ / การตั้งค่าต่างๆ
เป็นการตั้งค่าต่างๆ เช่น ชื่อบล๊อก และอื่นๆอีกมากมาย
ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม

2.2 วิธีการสร้างบทความ

วิธีการสร้างบทควา
การสร้างบทความใหม่ สามารถทำได้ 2 ทางคือ
1.คลิกเลือกจากหน้า บล็อก ในเมนู บทความใหม่  หรือ
2.เลือกจากเมนู การออกแบบ > การส่งบทความ >บทความใหม่


ส่วนประกอบที่จำเป็นสำหรับการเขียนบทความ

  •  ส่วนที่ 1  คือส่วนตั้งชื่อเรื่องหรือชื่อบทความ
  •  ส่วนที่ 2  เป็นส่วนที่ใช้สำหรับกรณีที่เราต้องการวางข้อความที่คัดลอกมาจาก Ms word  หรือโค้ดวีดีโอจาก Youtube หรือโค้ด HTML/จาวาสคริปต์ที่ต้องการให้ปรากฎและแสดงผลในบทความ
  •  ส่วนที่ 3 เป็นแถบที่เลือกเมื่อต้องการเขียนข้อความปกติซึ่งจะมีเครื่องมือในการเขียนบทความ
  •  ส่วนที่ 4  สำหรับจัดรูปแบบอักษร
  •  ส่วนที่ 5   เป็นเครื่องมือในการใส่ลิงค์ให้ข้อความ  แทรกภาพลงในบทความ และแทรกวีดีโอลงในบทความ
  •   ส่วนที่ 6 รูปกระดาษขาดที่เห็นนั้นใช้ในกรณีที่คุณต้องการแสดงบทความให้ผู้อ่านเห็นในหน้าหลักเพียงบางส่วนเท่านั้น และถ้าใช้เครื่องมือนี้ผู้อ่านจะต้องคลิกอ่านเพิ่มเติมจึงจะเห็นข้อความแบบเต็ม  เครื่องมือนี้มีข้อดีคือทำให้บทความที่มีความยาวมาก ๆ สั้นลงได้ และทำให้เปิดหน้าแรกได้เร็วขึ้นด้วย
  •  ส่วนที่ 7 เป็นส่วนที่ใช้ในการจัดเรียงข้อความ และจัดแนวรูปภาพได้ด้วย
  •  ส่วนที่ 8 ได้แก่การใส่ การเน้นข้อความ การลบรูปแบบ การตรวจสอบการสะกดคำ และการแปลภาษา
  •  ส่วนที่ 9 เป็นส่วนที่ใช้ในการวางกำหนดเวลาล่างหน้าว่าจะให้บทความที่เขียนเผยแพร่ในวันใด
  •  ส่วนที่ 10 เป็นการใส่ป้ายกำกับ ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้ระบุว่าบทความที่เขียนนี้อยู่ในหมวดหมู่ใด ซึ่งสามารถใส่ได้มากกว่า 1 ป้ายกำกับโดยคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค และสามารถเลือกป้ายกำกับที่คุณเคยใส่ให้บทความอื่นไปแล้วมาใส่อีกได้ เพื่อทำให้บทความนั้น ๆ อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน

     

 ส่วนที่ 11  เป็นการเลือกว่าจะบันทึกไว้ก่อน หรือจะเผยแพร่ มีประโยชน์ในกรณีที่บทความที่เขียนใช้เวลาเขียนนานมากก็อาจจะบันทึกเอาไว้ก่อนแล้วมาเขียนต่อในภายหลังได้ 



   

2.1 ความเข้าใจเบื้องต้นในการสร้างบทความ

ความเข้าใจเบื้องต้นในการสร้างบทความ

การสร้างบทความใช้พื้นฐาน Microsoft word คือเขียนอย่างไรก็จะออกมาอย่างนั้น แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
1. ส่วนของ "เขียน"  ในส่วนนี้จะเหมือน Microsoft Word เกือบทุกๆอย่าง อยากเขียนอะไร อยากใช้ตัวหนา ตัวเอียง การใส่ Link เพียงแค่คลิกเมนูการใช้งานด้านบน มีข้อเสียคือ เวลา Copy อะไรก็ตามแล้วนำมา Paste ลงในนี้ ลักษณะของของตัวอักษรจะเหมือนกับต้นแบบที่ Copy มาทุกอย่าง
  2. ส่วนของ "HTML" ส่วนนี้ต้องใช้ความรู้พอสมควรในการปรับแต่เนื้อหาหรือบทความที่เราเขียนให้เป็นไปตามที่เราตั้งใจ ซึ้งต้องใช้ความรู้ภาษา HTML พอสมควร  ข้อดีคือ สามารถปรับตามความต้องการของเราได้ทุกอย่าง เมื่อ Copy อะไรมาวาง ลักษณะตัวอักษรจะถูกปรับเป็นตัวอักษรปกติของบล๊อก

1.4 แผงควบคุม (Dashboard)

แผงควบคุม (Dashboard)
แผงควบคุม (Dashboard) หน้าที่รวม Blog ที่เราสร้างไว้ทั้งหมด รวมทั้งการเข้าถึง Blog นั้นๆ เพื่อแก้ไข หรือสร้างบทความใหม่ การปรับแต่ง ตั้งค่า และอื่นๆอีกมากมาย ซึงจะอธิบาย เมนู การใช้งานหน้าแผงควบคุม (Dashboard) ให้อย่างละเอียด เพื่อให้เพื่อนเข้าใจการใช้งาน Blogger

เมนูต่างๆของหน้า แผงควบคุม (Dashboard)


1.3 ส่วนประกอบของ Blog

ส่วนประกอบของ Blog ประกอบด้วย
1. Header โดยส่วน Header นี้จะเก็บรายละเอียดต่างๆ เช่น ชื่อ, คำอธิบาย, และโลโก้ ของ Blog.
2. Outer เป็นส่วนที่มีความสำคัญมาก โดยจะแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ
    2.1  Main  จะเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับข้อความที่เราโพสต์ บทความที่เราโพสต์ คอมเมนต์ต่างๆ
    2.2 Sider จะเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับ Gadget ต่างๆที่เราเพิ่มใน Blog ของเรา
    2.3 Footer โดยส่วนนี้จะเก็บข้อมูลในบรรทัด Footer ของบล็อกซึ่งโดยส่วนใหญ่ก็จะเป็น Copyright ต่างๆ